Motion Sensor


เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว (Motion Sensor)


            เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว เป็นอุปกรณ์ที่แปลงการตรวจจับความเคลื่อนไหวเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยทั่วไปเซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวมี ประเภทคือ
– เป็นเซ็นเซอร์ที่รับความร้อนจากร่างกายเมื่อเคลื่อนที่ ไม่มีการปล่อยพลังงานออกมาจากเซ็นเซอร์
2. Ultrasonic
เป็นเซ็นเซอร์ที่มีการปล่อยคลื่นอัลตร้าโซนิกออกมาและตรวจวัดการสะท้อนของคลื่นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่
3. Microwave
เป็นเซ็นเซอร์ที่มีการปล่อยคลื่นไมโครเวฟออกมาและตรวจวัดการสะท้อนของคลื่นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่
                ในโครงงานนี้ได้เลือกใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวประเภท Passive infrared sensors
                เป็น อุปกรณ์ที่ตรวจจับความเคลื่อนไหวด้วยการตรวจวัดความร้อนในพื้นที่ที่ต้องการ ความร้อนวัดได้จากการเปลี่ยนแปลงระดับรังสีอินฟราเรดที่ปล่อยออกมาจากวัตถุ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ ( สิ่งมีชีวิตทุกชนิด จะแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาจากตัวเอง การแผ่รังสีดังกล่าวเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในอะตอม ปริมาณรังสีจะมีมากน้อยตามแต่โครงสร้างทางเคมี และอุณหภูมิของวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ) จึงทำให้สามารถตรวจจับสัญญาณลอจิกที่เปลี่ยนแปลงที่ขาเอาต์พุตได้
ส่วนประกอบที่สำคัญของ PIR sensor
1. เลนส์ สำหรับควบคุมหรือโฟกัสพื้นที่ในการตรวจจับความเคลื่อนไหว
2. เซ็นเซอร์ - เป็นตัวแปลงพลังงานความร้อนจากรังสีอินฟราเรด มาเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า

รูป โมดูลตรวจความเคลื่อนไหว (PIR sensor #555-28027)
                PIR sensor #555-28027 เป็นแผงวงจรตรวจจับความเคลื่อนไหวด้วยการตรวจวัดความร้อน สามารถวัดได้ไกลถึง เมตร มีขนาดเล็ก ถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ง่ายโดยใช้ขาเชื่อมต่อเพียง ขา และสามารถเลือกโหมดสัญญาณเอาต์พุตได้
คุณสมบัติ 
- ใช้ไฟเลี้ยง +3 ถึง +5 โวลต์ ต้องการกระแสไฟฟ้ามากกว่า มิลลิแอมป์ 
- สามารถตรวจจับความเคลื่อนไหวได้ในช่วง เมตร
 - รัศมีในการตรวจจับ 70 องศา 
- สัญญาณเอาต์พุต บิต 
- อุณหภูมิในการทำงานอยู่ในช่วง ถึง 50 องศาเซลเซียส (ใช้ในพื้นที่ร่ม) 
- ใช้เวลาในการเรียนรู้สภาพแวดล้อม 10  ถึง 60 วินาที ในช่วงเวลานี้ควรจะมีตามการเคลื่อนไหวน้อยที่สุดในพื้นที่ที่มีการตรวจจับ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง 
- ขนาด 32.2 มิลลิเมตร × 24.3 มิลลิเมตร × 25.4 มิลลิเมตร (กว้าง  × ยาว  × สูง)
โหมดสัญญาณเอาต์พุต
โหมดสัญญาณเอาต์พุตสามารถเลือกใช้งานได้ แบบ คือ
1. สัญลักษณ์ H (HIGH) หมายถึง เอาต์พุตเป็นลอจิก เมื่ออยู่ในสภาวะปกติ และเอาต์พุตเป็นลอจิก เมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหวได้
2. สัญลักษณ์ L (LOW) หมายถึง เอาต์พุตเป็นลอจิก เมื่ออยู่ในสภาวะปกติ และเอาต์พุตเป็นลูกคลื่นลอจิก สลับกับ อย่างต่อเนื่อง(pulse) เมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหวได้

 



รูปแสดงจุดเชื่อมต่อการใช้งานของ PIR sensor #555-28027
การนำไปใช้งาน
จุดเชื่อมต่อสำหรับใช้งานมีทั้งหมด จุด
                1. ขาไฟเลี้ยง (+) สำหรับต่อไฟเลี้ยงแรงดัน +3.3 ถึง +5 โวลต์
                2. ขาเอาต์พุต (OUT) สำหรับต่อเข้ากับขาอินพุตของไมโครคอนโทรเลอร์
                3. ขากราวน์ (-) สำหรับต่อกราวด์ โวลต์
แหล่งอ้างอิง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น